บทความที่ได้รับความนิยม المقالة المشهورة

ทฤษฏีการสอนภาษา

Blumer มีทัศนะวา มนุษยจะมีการกระทําตอสิ่งตางๆโดยอาศัยพื้นฐานของการตีความ ความหมายที่สิ่งตางๆ
เหลานั้นปรากฏออกมา ผานการกระทําระหวางกันทางสังคมกับบุคคลอื่นๆ และลักษณะของการตีความสิ่งตางๆของ
บุคคลนี้จะขึ้นอยูกับความหมายที่บุคคลใหกับสิ่งนั้นตามประสบการณที่เขาเคยไดรับมา และการตีความตามสัญญลักษณ
ที่บุคคลอื่นแสดงออกมา โดยแบงวัตถุหรือสัญญลักษณตางๆออกเปน 3 ประเภทคือ

1. วัตถุทางกายภาพ ( Physical Object )
2. วัตถุทางสังคม ( Social Obect )
3. วัตถุทางนามธรรม ( Abstract Object )

Blumer เชื่อวา บุคคลจะเรียนรูวัตถุหรือสัญญลักษณเหลานี้โดยการกระทําระหวางกันทางสังคมกับบุคคลอื่น
หลังจากนั้นจึงเกิดการรับรูตัวตน ( Self ) ในลักษณะตางๆกอนนํามาตีความ เมื่อมีโอกาสเขารวมสังคมกับคนอื่น
แลวจึงแสดงพฤติกรรมตอบโตออกไป
การเรียนการสอนภาษามิใชเปนการเรียนเฉพาะตัวภาษาเทานั้น แตเปนการสอนตัวตน ชีวิตความเปนอยู โดยผานภาษานั้นๆเปนตัวเชื่อมนั่นเอง

อ้างอิง
http://web.bsru.ac.th