บทความที่ได้รับความนิยม المقالة المشهورة

วันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

“ทฤษฎีการพัฒนากับการเรียนการสอนภาษา”



เรื่อง “ทฤษฎีการพัฒนากับการเรียนการสอนภาษา”  โดย รศ.ดร. พัชรินทร  สิรสุนทร
Social Interaction Approach
    ในการศึกษาสังคมควรศึกษาทั้งในแงขนาดและลักษณะทางสังคม นักสังคมวิทยามีความเชื่อพื้นฐานวา ความสัมพันธ
ของคนในสังคมเปนแรงผลักทางสังคม  (Social Force) และวัฒนธรรมตลอดจนธรรมชาติของพฤติกรรมมนุษย
ลวนเปนผลมาจากปฏิสัมพันธทางสังคม (Social Interaction ) ของมนุษยทั้งสิ้น
1. ความสัมพันธของมนุษย( Human Interaction )เปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอการรวมกันเปนสังคมของ
       มนุษยและ การติดตอกันดวยสัญญลักษณ  (Symbolic Interaction) สัญญาณ (Sign)
2. การศึกษาความสัมพันธระหวางคนกับวัตถุก็ถือวาเปนสาระของสังคมวิทยาเชนกัน เนื่องจากวัตถุเปน
     Social Object ที่คนมีปฏิสัมพันธดวย
3. มุงศึกษาความสัมพันธที่มีวัตถุประสงคและเปนปฏิกริยาที่เกิดขึ้นโดยเจตนา
4. ศึกษาสังคมทั้งสังคมทั้งในสวนยอยและสวนใหญ เชนภาวะโครงสรางภายในของสังคม (Internal Structure )
       และศึกษาลักษณะภายในสังคมตางๆ
5. ศึกษาสถาบัน  (Institutions)
6. ศึกษาลักษณะทางสังคมของภาษา (Social Nature of Language) โดยการเรียนรูจาก
      ประสบการณของมนุษยทั้งโดยภาษาพูด ( Verbal ) และภาษาทาทาง( Gestures)ในขณะที่มีสติ
     ( Consciousness )
7. ศึกษากระสวนของการปฏิสัมพันธ(Pattern of Interaction ) โดยการศึกษาบทบาทและ
       โครงสราง  ( Role and Structure )
8. ศึกษาบทบาทและความสัมพันธที่เกี่ยวของกัน ( Relations )
9. ศึกษาความสัมพันธทางสังคม  (Social Relations) จากสถานภาพ (Status) และบทบาท (Role)
10. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  (Social Changes )
11. ศึกษาความขัดแยงทางสังคม (Social Conflict ) และการจัดการกับความขัดแยง
กลุมทฤษฎีสัมพันธสัญญลักษณ( Symbolic Interactionism Theories )
นักทฤษฎีสัมพันธสัญญลักษณคนสําคัญไดแก  :
George Herbert Mead (1863-1931)
 Mead แบงขั้นตอนการพัฒนาตัวตนของบุคคลออกเปน3 ขั้นตอนไดแก
1. ขั้นการเตรียมตัว ( Preparatory Stage )
2. ขั้นตอนของการเลน  ( Play Stage )
3.  ขั้นการรูจักชุมชนหรือสังคม (Game Stage )
Mead เชื่อวาการกระทําระหวางกันทางสังคมเปนสิ่งสําคัญมากตอการสรางตัวตนของบุคคล เนื่องจากบุคคลจะ
ตองแสดงกริยาอาการ (Gestures) ออกมาในระหวางที่มีการติดตอสัมพันธกับผูอื่น โดยแบงกริยาอาการของ
บุคคลออกเปน 2 แบบคือ2
1. กริยาที่ไมมีความหมาย ( Non-significant gestures) หมายถึงกริยาที่เปนไปตามธรรมชาติหรือ
      เปนไปโดยอัตโนมัติเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเรา
2. กริยาที่มีความหมาย (Significant gestures) เกิดจากภาษาหรือสัญญลักษณที่มนุษยคิดคนขึ้นมาเปน
      เครื่องมือในการสื่อความหมายกับบุคคลอื่นในสังคม
Mead ไดแบงขั้นตอนของการกระทําระหวางกันทางสังคมออกเปนขั้นตอนโดยแตละขั้นไมจําเปนตองเสร็จสิ้น
ในทันทีซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชในการเรียนการสอนภาษาไดดังนี้
Social Action  (ขั้นตอนในการปฏิบัติการทางสังคมในการเรียนภาษา)
1. Impulse stage / not ready stage (ขั้นของแรงกระตุน) เกิดขึ้นในขณะที่รางกายของบุคคล
       ยังอยูในภาวะที่ไมสมดุล การกระทําที่แสดงออกจึงไมมีเปาหมายหรือไมมีทิศทางในการกระทํา
2. Perception stage (ขั้นแลเห็นหรือเขาใจความหมาย) เปนขั้นที่บุคคลเริ่มกําหนดสถานการณและคนหา
        วิธีการที่จะทําใหตัวเองบรรลุเปาหมายหรือไดรับความพึงพอใจ
3. Manipulation stage (ขั้นกระทําหรือจัดแจง) เกิดขึ้นหลังจากที่บุคคลตัดสินใจและรับรูหรือเขาใจใน
        เปาหมายในขั้นตอนที่สองแลวและลงมือกระทําพฤติกรรม
4. Consummation stage / obtain the goal (ขั้นสมบูรณ) เกิดขึ้นเมื่อเปาหมายของบุคคล
       ไดรับการตอบสนองและบุคคลกลับคืนสูสภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง
Mead แบงตัวตนของบุคคลออกเปน 2  แบบดังนี้
1.  “ I ” หมายถึง การตอบสนองของรางกายตอทัศนคติและการกระทําของสมาชิกในสังคม
2.  “ Me ” หมายถึงตัวตนในสวนที่สังคมคาดหวังวาบุคคลตองกระทํา me จึงจัดเปนตัวตนทางสังคม
( Social Self ) ของบุคคลที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลไดรับการขัดเกลาทางสังคม
Herbert Blumer
      Blumer มีทัศนะวา มนุษยจะมีการกระทําตอสิ่งตางๆโดยอาศัยพื้นฐานของการตีความ ความหมายที่สิ่งตางๆ
เหลานั้นปรากฏออกมา ผานการกระทําระหวางกันทางสังคมกับบุคคลอื่นๆ และลักษณะของการตีความสิ่งตางๆของ
บุคคลนี้จะขึ้นอยูกับความหมายที่บุคคลใหกับสิ่งนั้นตามประสบการณที่เขาเคยไดรับมา และการตีความตามสัญญลักษณ
ที่บุคคลอื่นแสดงออกมา โดยแบงวัตถุหรือสัญญลักษณตางๆออกเปน 3 ประเภทคือ
1. วัตถุทางกายภาพ ( Physical Object )
2.  วัตถุทางสังคม ( Social Obect )
3.  วัตถุทางนามธรรม ( Abstract Object )
        Blumer เชื่อวา บุคคลจะเรียนรูวัตถุหรือสัญญลักษณเหลานี้โดยการกระทําระหวางกันทางสังคมกับบุคคลอื่น
หลังจากนั้นจึงเกิดการรับรูตัวตน ( Self ) ในลักษณะตางๆกอนนํามาตีความ เมื่อมีโอกาสเขารวมสังคมกับคนอื่น
แลวจึงแสดงพฤติกรรมตอบโตออกไป
        การเรียนการสอนภาษามิใชเปนการเรียนเฉพาะตัวภาษาเทานั้น แตเปนการสอนตัวตน ชีวิตความเปนอยู โดยผาน
ภาษานั้นๆเปนตัวเชื่อมนั่นเอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น